วันพฤหัสบดีที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

การสืบค้น OPAC

http://www.mediafire.com/?sdwn4uda9mchc57ส่งครับ

ข่าสารประจำสัปดาห์ที่3

ความสำคัญของสารานุกรม
หนังสือสารานุกรมเป็นหนังสืออ้างอิงที่สำคัญที่มีความสำคัญในฐานะที่เป็นแหล่งบันทึกภูมิปัญญา ของมวลมนุษยชาติตั้งแต่อดีต มาจนถึงปัจจุบัน ครอบคลุมศาสตร์ทุกแขนงวิชา มีการรวบรวมอย่างมีระบบ จึงได้กลายเป็นแหล่งอ้างอิงที่ครอบจักรวาล สำหรับอนุชนรุ่นหลัง เพื่อศึกษาค้นคว้าหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความพื้นขั้นพื้นฐานในแขนงวิชาต่าง ๆ นำไปสู่การค้นคว้าหาข้อเท็จจริงอย่างลึกซึ้งในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง อย่างต่อเนื่อง จนทำให้มีผลในการพัฒนาการใหม่ ๆ ในสังคมยุคปัจจุบัน ด้วยเหตุดังกล่าวข้างต้น สารานุกรมจึงได้กลายเป็นเครื่องมือที่สำคัญ

ในการบริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้าของบรรณารักษ์แผนกอ้างอิงเป็นเวลายาวนานเกินกว่าหนึ่งศวตวรรษ และปัจจุบันเป็นที่ยิมรับกันว่า สารานุกรมเป็นกรดูกสันหลังของงานบริการอ้างในห้องสมุดทุกประเภทเลยทีเดียว ลักษณะเฉพาะของสารานุกรม

เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้เกิดความภาคภูมิใจในความสามารถของบรรพบุรุษในการสร้างงานศิลปะ จากภูมิปัญญาที่คอดแบบผสมผสาน การนำวัตถุดิบพื้นบ้านที่หาได้ในแต่ละท้องถิ่นของภาคต่าง ๆ ในประเทศ มาประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้ได้อย่างมีศิลปะ ถึงแม้ว่าเครื่องเครื่องใช้ เหล่านี้จะเป็นเพียงของใช้พื้นบ้านที่ชาวบ้านธรรมดาใช้กัน แต่ก็มีคุณค่ามากมายในตัวมันเอง สุทธิลักษณ์ อำพันวงศ์ ได้กล่าวถึงลักษณะเฉพาะของสารานุกรมไว้ ดังนี้
1. สารานุกรมมีทั้งชนิดเล่มเดียวจบ และชนิดเป็นชุดหลายเล่มจบ ถ้าเป็นชุดหลายเล่มจะแจ้งไว้ที่สันว่า อักษรใดถึงอักษรใด เพื่อให้ค้นได้สะดวก
2. สารานุกรมทั้งขั้นอ่านยากสำหรับผู้มีความรู้สูง และขั้นอ่านง่ายสำหรับเยาวชน หรือผู้ที่มีความรู้ระดับปานกลาง ถ้ายากทราบสารานุกรมขั้นใดก็อ่านได้จากคำนำ
3. สารานุกรมประกอบด้วยบทความทางวิชาการด้านต่าง ๆ โดยการจัดเรียงลำดับตามตัวอักษร
4. มีชื่อเต็มหรืออักษรย่อของผู้เขียนบทความกำกับไว้ที่ท้ายเรื่องทุกเรื่อง
5. มีภาพประกอบบทความบางเรื่อง
อ้าอิงจาก http://lib.kru.ac.th/eBook/1630000/1630101/encyclopedia.html

วันเสาร์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่2


ENCYCLOPEDIAS
Britannica Concise Encyclopedia ขุมทรัพย์แห่งปัญญา

สารานุกรม หรือ Encyclopedia คือเรื่องคัดย่อที่เรียบเรียงขึ้นเพื่อรวบรวมความรู้ (ในขณะที่พจนานุกรมคือ Dictionary รวบรวมคำศัพท์และนิยามความหมาย) ทั้งที่เป็นความรู้ทั่วไป หรือที่เป็นความรู้เฉพาะทาง เช่นสารานุกรมเกี่ยวกับการแพทย์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา อาจเป็นสารานุกรมที่มีเนื้อหาครอบคลุมแต่ละภูมิภาคประเทศ หรือกลุ่มชน โดยทั่วไปจะจัดเรียงหัวข้อ เพื่อความสะดวกในการค้นคว้าใน 2 ลักษณะ คือเรียงตามอักขระ และเรียงตามกลุ่มเนื้อหา สารานุกรมประมวลองค์ความรู้ของมนุษยชาติที่สั่งสมกันมาตลอดหลายยุคหลายสมัย ทั้งยังปรับปรุงให้ทันกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตลอดเวลา จึงนับเป็นแหล่งสำคัญสำหรับการศึกษา และการเพิ่มพูนภูมิปัญญาของทุกคน

เมื่อพูดถึงสารานุกรม ส่วนใหญ่จะนึกถึงสารานุกรม Encyclopedia Britannica เป็นอันดับแรก ทั้งนี้เพราะ Encyclopedia Britannica เป็นสารานุกรมที่ได้รับความเชื่อถือและยอมรับมากที่สุดในโลกมานานถึง 230 ปี นับตั้งแต่ได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1788 ที่เมืองเอดินบะระในสกอตแลนด์ ปัจจุบันนี้สารานุกรมเป็นลิขสิทธิ์ของ Encyclopedia Britannica, Inc. ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ในนครชิคาโก และได้ผลิตสารานุกรม ตลอดจนสื่อความรู้ที่มีคุณภาพในรูปแบบอื่นๆออกมาอีกนับไม่ถ้วน และหนึ่งในจำนวนนั้นคือ Britannica Concise Encyclopedia

ทางผู้จัดพิมพ์เล็งเห็นว่ากระบวนการในการจัดทำสารานุกรมฉบับนี้ จะมีความยุ่งยากซับซ้อนเป็นพิเศษ จึงได้นำเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้เพื่อความสะดวกรวดเร็ว และถูกต้องแม่นยำในการทำงาน รวมถึงได้ทำการพัฒนา Software ขึ้นมารองรับโดยเฉพาะ ประกอบด้วยโปรแกรม Translator's Panel, Editor's Panel และ Transliteration Panel สำหรับการทำงานของผู้แปลและบรรณาธิการต่างๆ และ Report Launcher สำหรับการควบคุมติดตามความคืบหน้าของงานในแต่ละช่วงเวลา ถือได้ว่าเป็นครั้งแรกที่มีการพัฒนา Software เพื่อการทำงานของผู้แปล และเพื่อบรรณาธิการขึ้นมาโดยเฉพาะกิจ

อ้างอิง www.concise.thai.britannica.com

วันศุกร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่1




ENCYCLOPEDIAS NEWS
The Columbia Encyclopedia, Sixth Edition | 2008 | The Columbia Encyclopedia, Sixth Edition. Copyright 2008 Columbia University Press. (Hide copyright information) Copyright

French Revolution political upheaval of world importance in France that began in 1789.

Origins of the Revolution

Historians disagree in evaluating the factors that brought about the Revolution. To some extent at least, it came not because France was backward, but because the country's economic and intellectual development was not matched by social and political change. In the fixed order of the ancien régime, most bourgeois were unable to exercise commensurate political and social influence. King Louis XIV, by consolidating absolute monarchy, had destroyed the roots of feudalism; yet outward feudal forms persisted and became increasingly burdensome.

France was still governed by privileged groups—the nobility and the clergy—while the productive classes were taxed heavily to pay for foreign wars, court extravagance, and a rising national debt. For the most part, peasants were small landholders or tenant farmers, subject to feudal dues, to the royal agents indirect farming (collecting) taxes, to the corvée (forced labor), and to tithes and other impositions. Backward agricultural methods and internal tariff barriers caused recurrent food shortages, which netted fortunes to grain speculators, and rural overpopulation created land hunger.

In addition to the economic and social difficulties, the ancien régime was undermined intellectually by the apostles of the Enlightenment . Voltaire attacked the church and absolutism; Denis Diderot and the Encyclopédie advocated social utility and attacked tradition; the baron de Montesquieu made English constitutionalism fashionable; and the marquis de Condorcet preached his faith in progress. Most direct in his influence on Revolutionary thought was J. J. Rousseau , especially through his dogma of popular sovereignty. Economic reform, advocated by the physiocrats and attempted (1774-76) by A. R. J. Turgot , was thwarted by the unwillingness of privileged groups to sacrifice any privileges and by the king's failure to support strong measures.

The direct cause of the Revolution was the chaotic state of government finance. Director general of finances Jacques Necker vainly sought to restore public confidence. French participation in the American Revolution had increased the huge debt, and Necker's successor, Charles Alexandre de Calonne , called an Assembly of Notables (1787), hoping to avert bankruptcy by inducing the privileged classes to share in the financial burden. They refused in an effort to protect economic privileges.

The Estates-General and the National Assembly

Étienne Charles Loménie de Brienne succeeded Calonne. His attempts to procure money were thwarted by the Parlement of Paris (see parlement ), and King Louis XVI was forced to agree to the calling of the States-General. Elections were ordered in 1788, and on May 5, 1789, for the first time since 1614, the States-General met at Versailles. The chief purpose of the king and of Necker, who had been recalled, was to obtain the assembly's consent to a general fiscal reform.

Each of the three estates—clergy, nobility, and the third estate, or commons—presented its particular grievances to the crown. Innumerable cahiers (lists of grievances) came pouring in from the provinces, and it became clear that sweeping political and social reforms, far exceeding the object of its meeting, were expected from the States-General. The aspirations of the bourgeoisie were expressed by Abbé Sieyès in a widely circulated pamphlet that implied that the third estate and the nation were virtually identical. The question soon arose whether the estates should meet separately and vote by order or meet jointly and vote by head (thus assuring a majority for the third estate, whose membership had been doubled).
อ้างอิง www.changsunha.com

วันจันทร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

ส่งงานโปรเจ็กนะครับ


http://www.mediafire.com/?fijtvmw2mzz

ทำความรู้จัก : ดาวเทียมไทยคมวันที่ 17 มิถุนายน 2553 เวลา 20:21 น. อ่าน : 91 | ตอบ : 0

โครงการ ดาวเทียมไทยคม ( Thaicom ) เป็นโครงการ ดาวเทียมสื่อสาร เพื่อให้บริการสื่อสารผ่านช่องสัญญาณดาวเทียม ซึ่งกระทรวงคมนาคม (ในขณะนั้น) ต้องการจัดหาดาวเทียมเพื่อรองรับการขยายตัวด้านการสื่อสารของประเทศอย่างรวดเร็ว แต่ในเวลานั้นประเทศไทยยังไม่มีดาวเทียมเป็นของตนเอง และต้องทำการเช่าวงจรสื่อสารจากดาวเทียมของประเทศต่างๆ ทำให้ให้เกิดความไม่สะดวกและสูญเสียเงินออกนอกประเทศเป็นจำนวนมาก แต่เนื่องจากการจัดสร้างดาวเทียมต้องใช้เงินลงทุนสูงมากจึงได้มีการเปิดประมูลเพื่อให้สัมปทานแก่บริษัทเอกชนเข้ามาดำเนินการแทนการใช้งบประมาณจากภาครัฐ และ บริษัท ชินวัตร แซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ได้รับสัมปทานเมื่อ พ.ศ. 2534 เป็นต้นมา เป็นระยะเวลา 30 ปี (ปัจจุบันอำนาจการดูแลสัญญาโอนไปที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)