http://www.mediafire.com/?w1ir4k6jz97ai2c
นายนภสิทธิ์ ปรากฎเลิศ
นายเกรียงศักดิ์ แสนคำ
นายพิทักษ์ศิลป์ ฉวีรักษ์
วันพุธที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2553
วันจันทร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2553
แสดงความคิดเห็น ผลสำรวจวัยรุนไทยแชมป์ฮัลโหลในเอเชีย
ก็จริงนะครับที่วัยรุนไทยมีการคุยโทรศัพท์ในแต่ละวันในอัตราเฉลี่ยที่สูงมาก
ไม่ว่าจะคุยกับครอบครัว เพื่อนและรวมไปถึงแฟน แต่ทั้งหมดนี้เนื่องจากวัยรุ่น
บางคนไม่ได้อยู่บ้านแต่ต้องออกไปศึกษาต่อไกลบ้านหรือทำงาน จึงต้องมีการ
ติดต่อถามความเป็นอยู่ของครอบครัว และเพื่อนว่าเป็นอย่างไรบ้างสบายดีหรือเปล่า
ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสุขภาพ ความเป็นอยู่จึงใช้เวลาในการคุยที่นานพอสมควร
แต่การใช้โทรศัพท์ไม่ว่าจะเป็นการฟังเพลง ฟังวิทยุ ถ่ายภาพและบันทึกวีดีโอนั้น
ผมคิดว่าก็เป็นสิ่งที่ดีนะครับ เพราะว่าบางคนก็ทำงานด้วยฟังเพลงไปด้วยก็ทำให้
มีอารมย์ดีและทำงานได้ดีด้วย ในเรื่องของการถ่ายภาพและบันทึกวีดีโอนั้น
เพื่อต้องการที่จะบันทึกความทรงจำที่ได้ไปที่ต่างๆรวมทั้งประสบการณ์ที่ได้ทำในตอนนั้นด้วย
แต่ทั้งนี้ผมว่าจะดีหรือไม่ดีขึ้นอยู่กับคนที่ใช้มากกว่า แต่อย่างไรก็ตามโทรศัพท์ก็คือสิ่งที่ดีสำหรับคนไทยทุกคนครับ
นายนภสิทธิ์ ปรากฎเลิศ เกษตรศึกษา-พืชสวน 3/1 เลขที่ 2
ไม่ว่าจะคุยกับครอบครัว เพื่อนและรวมไปถึงแฟน แต่ทั้งหมดนี้เนื่องจากวัยรุ่น
บางคนไม่ได้อยู่บ้านแต่ต้องออกไปศึกษาต่อไกลบ้านหรือทำงาน จึงต้องมีการ
ติดต่อถามความเป็นอยู่ของครอบครัว และเพื่อนว่าเป็นอย่างไรบ้างสบายดีหรือเปล่า
ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสุขภาพ ความเป็นอยู่จึงใช้เวลาในการคุยที่นานพอสมควร
แต่การใช้โทรศัพท์ไม่ว่าจะเป็นการฟังเพลง ฟังวิทยุ ถ่ายภาพและบันทึกวีดีโอนั้น
ผมคิดว่าก็เป็นสิ่งที่ดีนะครับ เพราะว่าบางคนก็ทำงานด้วยฟังเพลงไปด้วยก็ทำให้
มีอารมย์ดีและทำงานได้ดีด้วย ในเรื่องของการถ่ายภาพและบันทึกวีดีโอนั้น
เพื่อต้องการที่จะบันทึกความทรงจำที่ได้ไปที่ต่างๆรวมทั้งประสบการณ์ที่ได้ทำในตอนนั้นด้วย
แต่ทั้งนี้ผมว่าจะดีหรือไม่ดีขึ้นอยู่กับคนที่ใช้มากกว่า แต่อย่างไรก็ตามโทรศัพท์ก็คือสิ่งที่ดีสำหรับคนไทยทุกคนครับ
นายนภสิทธิ์ ปรากฎเลิศ เกษตรศึกษา-พืชสวน 3/1 เลขที่ 2
วันอาทิตย์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2553
วันพฤหัสบดีที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2553
วันเสาร์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2553
วันศุกร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2553
วันพุธที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2553
ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 10
วิธีใช้สารานุกรม
สารานุกรมทุกชนิดจะเรียงลำดับตามตัวอักษรของเนื้อเรื่องทุก ๆ บทความ และมีส่วนต่างๆ ที่ช่วยให้เราค้นหาเรื่องที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว คือ
1. มี VOLUME GUIDE คือตัวแนะหรือตัวช่วยค้น
2. มีดรรชนีช่วยในการค้นหาเรื่องที่เราต้องการ มักจะอยู่ท้ายเล่มของทุกเล่ม หรือมี ดรรชนีรวมอยู่เล่มสุดท้ายของชุด
3. บทความหรือหัวข้อเรื่องที่มีชื่อประกอบหลายคำให้ใช้คำแรกเป็นหลัก
4. หัวเรื่องที่มีคำย่อให้ดูที่คำเต็ม เช่น Mt. Everest ให้ดูที่ Mount Everest
5. สำหรับสารานุกรมภาษาอังกฤษเมื่อต้องการหาเรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลให้ดูที่ชื่อสกุลหรือชื่อสุดท้ายเป็นหลัก
ประโยชน์สารานุกรม
หนังสือสารานุกรมใช้ในการตอบปัญหาเกี่ยวกับเรื่องทั่วๆ ไป โดยให้คำอธิบายอย่างกว้าง ๆ ทุกแขนงวิชา ซึ่งเป็นประโยชน์สำหรับการค้นคว้าหาความรู้พื้นฐานทั่วไป
ขอบคุณสารานุกรมความรู้จาก สคูลดอทเน็ตดอททีเอช และ วิชาการดอทคอมครับ แปลงต้นฉบับให้น่าอ่านโดยช่างสรรหา
คะแนนความนิยม: 9%
สารานุกรมทุกชนิดจะเรียงลำดับตามตัวอักษรของเนื้อเรื่องทุก ๆ บทความ และมีส่วนต่างๆ ที่ช่วยให้เราค้นหาเรื่องที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว คือ
1. มี VOLUME GUIDE คือตัวแนะหรือตัวช่วยค้น
2. มีดรรชนีช่วยในการค้นหาเรื่องที่เราต้องการ มักจะอยู่ท้ายเล่มของทุกเล่ม หรือมี ดรรชนีรวมอยู่เล่มสุดท้ายของชุด
3. บทความหรือหัวข้อเรื่องที่มีชื่อประกอบหลายคำให้ใช้คำแรกเป็นหลัก
4. หัวเรื่องที่มีคำย่อให้ดูที่คำเต็ม เช่น Mt. Everest ให้ดูที่ Mount Everest
5. สำหรับสารานุกรมภาษาอังกฤษเมื่อต้องการหาเรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลให้ดูที่ชื่อสกุลหรือชื่อสุดท้ายเป็นหลัก
ประโยชน์สารานุกรม
หนังสือสารานุกรมใช้ในการตอบปัญหาเกี่ยวกับเรื่องทั่วๆ ไป โดยให้คำอธิบายอย่างกว้าง ๆ ทุกแขนงวิชา ซึ่งเป็นประโยชน์สำหรับการค้นคว้าหาความรู้พื้นฐานทั่วไป
ขอบคุณสารานุกรมความรู้จาก สคูลดอทเน็ตดอททีเอช และ วิชาการดอทคอมครับ แปลงต้นฉบับให้น่าอ่านโดยช่างสรรหา
คะแนนความนิยม: 9%
ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 9
สารานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (โดยย่อ)
คำปรารภ (ย่อ)
จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีได้ให้ไว้เมื่อ ๑๐ ธ.ค.๙๘ มีใจความว่าปัจจุบันมีความรู้มากอย่างที่ควรจะรู้ ถ้าไม่มีตำรับตำราสำหรับย่นเวลาในการศึกษาเล่าเรียนแล้ว กว่าจะรู้อะไรสักอย่างต้องเสียเวลาค้นมาก ถ้าเรามีหนังสือสารานุกรมอยู่ จะเปิดดูได้ทีเดียวไม่เสียเวลาค้นหาในหนังสือต่าง ๆ ด้วยเหตุนี้นานาอารยประเทศจึงได้ทำหนังสือสารานุกรมซึ่งบรรจุความรู้แทบทุกสาขาวิชาไว้ เพื่อให้พลเมืองของเขาศึกษาค้นคว้าได้ง่ายไม่เสียเวลา
คำนำ (ย่อ)
การทำสารานุกรมนี้ราชบัณฑิตยสถานได้เคยเริ่มดำเนินการจัดทำมาแล้วครั้งหนึ่งเมื่อ พ.ศ.๒๔๘๖ แต่ต้องหยุดชะงักลง ต่อมาใน พ.ศ.๒๔๙๗ จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในตำแหน่งบังคับบัญชา ราชบัณฑิตยสถาน ได้เสนอให้ราชบัณฑิตยสถานวางโครงการจัดทำสารานุกรมขึ้นใหม่
สารานุกรมเป็นหนังสือ จัดอยู่ในประเภทหนังสือสำหรับค้นเช่นเดียวกับพจนานุกรม วัตถุประสงของการจัดทำหนังสือก็คือ ประการแรก จะต้องอธิบายอย่างย่อ ๆ และเข้าใจง่าย เพื่อให้ผู้อ่านซึ่งแม้จะไม่มีความรู้พิเศษเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ ก็สามารถเข้าใจได้ทันที ประการที่สอง โดยมากมักจะมีการจัดระเบียบด้วยการเรียงลำดับตัวอักษร หรือไม่ก็โดยวิธีอื่นใดที่จะทำให้ผู้อ่านค้นหาได้สะดวกและรวดเร็ว
สารานุกรมมุ่งไปในทางที่จะอธิบายเรื่องราวของสิ่งต่าง ๆ และความคิดของตน ซึ่งบางเล่มก็อธิบายทุก ๆ เรื่องที่สามารถอธิบายได้ บางเล่มก็อธิบายเฉพาะเรื่อง เฉพาะวิชา
ในขั้นแรกนี้ จะจัดทำเป็นเรื่องขนาดเล็ก บรรจุคำถามที่เห็นสมควรเลือกเป็นคำตั้งมีข้อความอธิบายย่อบ้าง พิศดารบ้าง ตามสมควรแก่เรื่องในคำนั้น ๆ เพื่อเป็นการวางรากฐานไว้คราวหนึ่งก่อน ต่อไปอาจขยายเป็นขนาดใหญ่และพิศดารยิ่งขึ้น
เรื่องที่จะนำมาอธิบายนั้น อยู่ในขอบเขตหัวข้อดังต่อไปนี้
๑. บุคคลสำคัญ
๒. เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์และความเคลื่อนไหวของโลก
๓. ประเทศ ภูมิภาค นคร เมือง ฯลฯ
๔. เรื่องเกี่ยวกับดาราศาสตร์
๕. เชื้อชาติของมนุษย์
๖. นิยายโบราณ
๗. ศาสนา
๘. ปรัชญา
๙. ลัทธินิกายต่าง ๆ
๑๐. หนังสือสำคัญของโลก
๑๑. ตำนานและนิทานต่าง ๆ
๑๒. ตัวสำคัญที่มีอยู่ในเรื่องวรรณคดี
๑๓. สังคมและการเมือง
๑๔. ครอบครัวที่สำคัญ
๑๕. สถาบันต่าง ๆ (สิ่งที่ตั้งขึ้นเป็นขนบประเพณีหรือเป็นสถานที่เกี่ยวกับการปกครอง วิทยาการ สังคม เป็นต้น)
๑๖. วันหยุดงานและพิธีรีตอง
๑๗. วิทยาศาสตร์ ศีลธรรม และวัฒนธรรม (วรรณคดี ศิลปกรรม)
๑๘. เศรษฐกิจ
คำปรารภ (ย่อ)
จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีได้ให้ไว้เมื่อ ๑๐ ธ.ค.๙๘ มีใจความว่าปัจจุบันมีความรู้มากอย่างที่ควรจะรู้ ถ้าไม่มีตำรับตำราสำหรับย่นเวลาในการศึกษาเล่าเรียนแล้ว กว่าจะรู้อะไรสักอย่างต้องเสียเวลาค้นมาก ถ้าเรามีหนังสือสารานุกรมอยู่ จะเปิดดูได้ทีเดียวไม่เสียเวลาค้นหาในหนังสือต่าง ๆ ด้วยเหตุนี้นานาอารยประเทศจึงได้ทำหนังสือสารานุกรมซึ่งบรรจุความรู้แทบทุกสาขาวิชาไว้ เพื่อให้พลเมืองของเขาศึกษาค้นคว้าได้ง่ายไม่เสียเวลา
คำนำ (ย่อ)
การทำสารานุกรมนี้ราชบัณฑิตยสถานได้เคยเริ่มดำเนินการจัดทำมาแล้วครั้งหนึ่งเมื่อ พ.ศ.๒๔๘๖ แต่ต้องหยุดชะงักลง ต่อมาใน พ.ศ.๒๔๙๗ จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในตำแหน่งบังคับบัญชา ราชบัณฑิตยสถาน ได้เสนอให้ราชบัณฑิตยสถานวางโครงการจัดทำสารานุกรมขึ้นใหม่
สารานุกรมเป็นหนังสือ จัดอยู่ในประเภทหนังสือสำหรับค้นเช่นเดียวกับพจนานุกรม วัตถุประสงของการจัดทำหนังสือก็คือ ประการแรก จะต้องอธิบายอย่างย่อ ๆ และเข้าใจง่าย เพื่อให้ผู้อ่านซึ่งแม้จะไม่มีความรู้พิเศษเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ ก็สามารถเข้าใจได้ทันที ประการที่สอง โดยมากมักจะมีการจัดระเบียบด้วยการเรียงลำดับตัวอักษร หรือไม่ก็โดยวิธีอื่นใดที่จะทำให้ผู้อ่านค้นหาได้สะดวกและรวดเร็ว
สารานุกรมมุ่งไปในทางที่จะอธิบายเรื่องราวของสิ่งต่าง ๆ และความคิดของตน ซึ่งบางเล่มก็อธิบายทุก ๆ เรื่องที่สามารถอธิบายได้ บางเล่มก็อธิบายเฉพาะเรื่อง เฉพาะวิชา
ในขั้นแรกนี้ จะจัดทำเป็นเรื่องขนาดเล็ก บรรจุคำถามที่เห็นสมควรเลือกเป็นคำตั้งมีข้อความอธิบายย่อบ้าง พิศดารบ้าง ตามสมควรแก่เรื่องในคำนั้น ๆ เพื่อเป็นการวางรากฐานไว้คราวหนึ่งก่อน ต่อไปอาจขยายเป็นขนาดใหญ่และพิศดารยิ่งขึ้น
เรื่องที่จะนำมาอธิบายนั้น อยู่ในขอบเขตหัวข้อดังต่อไปนี้
๑. บุคคลสำคัญ
๒. เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์และความเคลื่อนไหวของโลก
๓. ประเทศ ภูมิภาค นคร เมือง ฯลฯ
๔. เรื่องเกี่ยวกับดาราศาสตร์
๕. เชื้อชาติของมนุษย์
๖. นิยายโบราณ
๗. ศาสนา
๘. ปรัชญา
๙. ลัทธินิกายต่าง ๆ
๑๐. หนังสือสำคัญของโลก
๑๑. ตำนานและนิทานต่าง ๆ
๑๒. ตัวสำคัญที่มีอยู่ในเรื่องวรรณคดี
๑๓. สังคมและการเมือง
๑๔. ครอบครัวที่สำคัญ
๑๕. สถาบันต่าง ๆ (สิ่งที่ตั้งขึ้นเป็นขนบประเพณีหรือเป็นสถานที่เกี่ยวกับการปกครอง วิทยาการ สังคม เป็นต้น)
๑๖. วันหยุดงานและพิธีรีตอง
๑๗. วิทยาศาสตร์ ศีลธรรม และวัฒนธรรม (วรรณคดี ศิลปกรรม)
๑๘. เศรษฐกิจ
วันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2553
ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 8
กำเนิดสารานุกรมไทย
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชปรารภว่า การเรียนรู้ในเรื่องราวและวิชาการสาขาต่าง ๆ โดยกว้างขวาง เป็นเหตุให้เกิดความรู้ ความคิด และความฉลาด ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดสำหรับชีวิต ช่วยให้บุคคลสร้างประโยชน์สุข สร้างความเจริญมั่นคงให้แก่ตนเอง ทั้งแก่สังคมและบ้านเมืองอันเป็นที่พึ่งอาศัยได้ ทุกคนจึงควรมีโอกาสที่จะศึกษาหาความรู้ได้ตามความประสงค์และกำลังความสามารถโดยทั่วกัน
ทรงพระราชดำริว่า หนังสือประเภทสารานุกรมนั้น บรรจุสรรพวิชาการอันเป็นสาระไว้ครบทุกแขนงเมื่อมีความต้องการหรือความพอใจเรียนรู้เรื่องใดก็สามารถค้นหาอ่านทราบโดยสะดวก นับว่าเป็นหนังสือที่เป็นประโยชน์เกื้อกูลการศึกษาเพิ่มพูนปัญญาด้วยตนเองของประชาชนอย่างสำคัญ โดยเฉพาในยามที่มีปัญหาการขาดแคลนครู และที่เล่าเรียน เช่นขณะนี้ หนังสือสารานุกรมจะช่วยคลี่คลายให้บรรเทาเบาบางลงได้เป็นอย่างดี จึงมีพระราชดำรัสให้ตั้งโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ ซึ่งดำเนินการสร้างหนังสือสารานุกรมฉบับใหม่อีกชุดหนึ่ง มีความมุ่งหมายทางวิชาการแขนงต่าง ๆ ที่ควรศึกษา ออกเผยแพร่แก่เยาวชนให้แพร่หลายทั่วถึง เพื่อเยาวชนจักได้หาความรู้ช่วยตัวเองได้จากการอ่านหนังสือ และเพื่อให้ได้ประโยชน์อันกว้างขวางยิ่งขึ้น ทรงกำหนดหลักการทำคำอธิบายเรื่องต่าง ๆ แต่ละเรื่อง เป็นสามตอนหรือสามระดับสำหรับให้เด็กรุ่นเล็กอ่านเข้าใจได้ในระดับหนึ่ง สำหรับเด็กรุ่นกลางอ่านเข้าใจได้ในระดับหนึ่ง และสำหรับเด็กรุ่นใหญ่รวมถึงผู้ใหญ่ผู้สนใจอ่านได้อีกระดับหนึ่ง
อ้างอิงจาก http://th.wikipedia.org/wiki
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชปรารภว่า การเรียนรู้ในเรื่องราวและวิชาการสาขาต่าง ๆ โดยกว้างขวาง เป็นเหตุให้เกิดความรู้ ความคิด และความฉลาด ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดสำหรับชีวิต ช่วยให้บุคคลสร้างประโยชน์สุข สร้างความเจริญมั่นคงให้แก่ตนเอง ทั้งแก่สังคมและบ้านเมืองอันเป็นที่พึ่งอาศัยได้ ทุกคนจึงควรมีโอกาสที่จะศึกษาหาความรู้ได้ตามความประสงค์และกำลังความสามารถโดยทั่วกัน
ทรงพระราชดำริว่า หนังสือประเภทสารานุกรมนั้น บรรจุสรรพวิชาการอันเป็นสาระไว้ครบทุกแขนงเมื่อมีความต้องการหรือความพอใจเรียนรู้เรื่องใดก็สามารถค้นหาอ่านทราบโดยสะดวก นับว่าเป็นหนังสือที่เป็นประโยชน์เกื้อกูลการศึกษาเพิ่มพูนปัญญาด้วยตนเองของประชาชนอย่างสำคัญ โดยเฉพาในยามที่มีปัญหาการขาดแคลนครู และที่เล่าเรียน เช่นขณะนี้ หนังสือสารานุกรมจะช่วยคลี่คลายให้บรรเทาเบาบางลงได้เป็นอย่างดี จึงมีพระราชดำรัสให้ตั้งโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ ซึ่งดำเนินการสร้างหนังสือสารานุกรมฉบับใหม่อีกชุดหนึ่ง มีความมุ่งหมายทางวิชาการแขนงต่าง ๆ ที่ควรศึกษา ออกเผยแพร่แก่เยาวชนให้แพร่หลายทั่วถึง เพื่อเยาวชนจักได้หาความรู้ช่วยตัวเองได้จากการอ่านหนังสือ และเพื่อให้ได้ประโยชน์อันกว้างขวางยิ่งขึ้น ทรงกำหนดหลักการทำคำอธิบายเรื่องต่าง ๆ แต่ละเรื่อง เป็นสามตอนหรือสามระดับสำหรับให้เด็กรุ่นเล็กอ่านเข้าใจได้ในระดับหนึ่ง สำหรับเด็กรุ่นกลางอ่านเข้าใจได้ในระดับหนึ่ง และสำหรับเด็กรุ่นใหญ่รวมถึงผู้ใหญ่ผู้สนใจอ่านได้อีกระดับหนึ่ง
อ้างอิงจาก http://th.wikipedia.org/wiki
วันจันทร์ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2553
ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่ 7
หนังสือสารานุกรมไทย ฉบับเฉลิมพระเกียรติ
หนังสือสารานุกรมไทย ฉบับเฉลิมพระเกียรติ ในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี จัดทำขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยประมวลพระราชจริยาวัตร พระราชกรณียกิจ และพระปรีชาสามารถในด้านต่างๆ อันก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติและอาณาประชาราษฎร์
พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้
๑. ธรรมิกราชา
๒. พระปรีชาสามารถด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม
๓. เศรษฐกิจพอเพียง
๔. กษัตริย์-เกษตร
๕. พระราชกรณียกิจด้านการแพทย์และการสาธารณสุข
๖. พระปรีชาสามารถด้านการพัฒนาปัญญา
๗. อัครศิลปิน
๘. พระราชกรณียกิจด้านการสืบสานวัฒนธรรมและขนบประเพณี
๙. สังคมสมานฉันท์
หนังสือสารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก
พิมพ์ขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๔๒ มีทั้งหมด ๖๐ เรื่องโดยแบ่งเป็น ๙ หมวด คือ
หมวดที่ ๑ พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจสำคัญ
หมวดที่ ๒ พระราชวงค์
หมวดที่ ๓ องค์กรและส่วนราชการ
หมวดที่ ๔ มูลนิธิ ทุน รางวัล และโรงเรียน
หมวดที่ ๕ พระราชสถานะและพระราชอำนาจตามรัฐธรรมนูญ
หมวดที่ ๖ ราชธรรมและพระราชกรณียกิจเกี่ยวกับศาสนา
หมวดที่ ๗ พระราชพิธีในรัชกาลปัจจุบัน
หมวดที่ ๘ พระบรมราชสัญลักษณ์และเรื่องราวเกี่ยวข้อง
หมวดที่ ๙ เบ็ตเตล็ด
อ้างอิงจาก http://kanchanapisek.or.th/kp6/GENERAL/encyclopedia/saranugrom.htm
วันอาทิตย์ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2553
ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่6
วิธีใช้สารานุกรม
1. พิจารณาว่าเรื่องที่ต้องการเป็นความรู้พื้นฐานหรือความรู้ที่เป็นเรื่องเฉพาะวิชา
2. เลือกใช้สารานุกรมให้ถูกกับเรื่องที่ต้องการ
3. เปิดดูดรรชนี เพื่อดูว่าเรื่องที่ต้องการค้นหาอยู่ในเล่มไหน หน้าเท่าไร โดยพิจารณาให้ถูกกับลักษณะของสารานุกรม เช่น
3.1 เปิดดูดรรชนีท้ายเล่ม (สารานุกรมสำหรับเยาวชนและสารานุกรมบางชุดดรรชนีอยู่ด้านหน้า)
3.2 เปิดดูดรรชนีที่เล่มสุดท้ายของชุด (สารานุกรมสำหรับผู้ใหญ่และสารานุกรมบางชุดอยู่ท้ายเล่ม)
4. ดูอักษรนำเล่ม หรือคำแนะที่สันหนังสือ เพื่อดูว่าเรื่องที่ต้องการอยู่เล่มใด
5. ก่อนใช้สารานุกรมแต่ละชุดควรอ่านใช้เป็นลำดับแรก แล้วจึงค้นหาเรื่องที่ต้องการ
อ้าอิงจาก สุนิตย์ เย็นสบาย. (2543). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหนังสืออ้างอิง.
พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ:ศิลปาบรรณาคาร.
ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่5
ประเภทของสารานุกรม
1. แบ่งตามขอบเขตเนื้อหาวิชา
1.1 สารานุกรมทั่วไป (General Encyclopedias) สารานุกรมทั่วไป ได้แก่ สารานุกรมที่รวบรวมความรู้ทุกแขนงวิชา มีทั้งให้ข้อมูลละเอียด และอย่างสังเขป อธิบายเรื่องราวเพื่อเป็นพื้นฐานความรู้เยวกับศาสตร์ทุกแขนงของมวลมนุษย์ตั้งแต่โบราณถึงปัจจุบัน
1.2 สารานุกรมเฉพาะสาขาวิชา (Subject Encyclopedias) ได้แก่ สารานุกรมที่รวบรวมความรู้สาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง หรือ รวบรวมเรื่องราวแขนงใดแขนงหนึ่งโดยเฉพาะ
2. แบ่งตามระดับอายุของผู้ใช้
2.1 สารานุกรมสำหรับเยาวชน จะใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย บทความมีขนาดกระทัดรัด จบสมบูรณ์ในตัวเอง มีภาพประกอบเป็นจำนวนมาก
2.2 สารานุกรมสำหรับผู้ใหญ่ คือ สารานุกรมที่จัดทำขึ้นเพื่อรวบรวมความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ ข้อมูลที่ได้จะละเอียดและลึกซึ้งกว่า สารานุกรมสำหรับเยาวชน
3. แบ่งตามจำนวนเล่ม สามารถแบ่งได้อีก 2 ประเภท
3.1 สารานุกรมหลายเล่มจบ บางครั้งเรียกสารานุกรมประเภทชุด ตัวอย่างเช่น สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน
3.2 สารานุกรมเล่มเดียวจบ เป็นสารานุกรมที่ให้ข้อเท็จจริงอย่างย่อ ๆ บทความมีขนาดกระทัดรัด เหมาะสำหรับใช้ตอบคำถามที่ต้องการตอบทันที จัดเรียงตามลำดับอักษรแบบพจนานุกรม ไม่มีดรรชีค้นเรื่อง
วิธีใช้สารานุกรม
1. พิจารณาว่าเรื่องที่ต้องการเป็นความรู้พื้นฐานหรือความรู้ที่เป็นเรื่องเฉพาะวิชา
2. เลือกใช้สารานุกรมให้ถูกกับเรื่องที่ต้องการ
3. เปิดดูดรรชนี เพื่อดูว่าเรื่องที่ต้องการค้นหาอยู่ในเล่มไหน หน้าเท่าไร โดยพิจารณาให้ถูกกับลักษณะของสารานุกรม เช่น
3.1 เปิดดูดรรชนีท้ายเล่ม (สารานุกรมสำหรับเยาวชนและสารานุกรมบางชุดดรรชนีอยู่ด้านหน้า)
3.2 เปิดดูดรรชนีที่เล่มสุดท้าย
อ้างอิงจาก www.thaihealth.net ›
ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่4
ประโยชน์ของสารานุกรม
1. ใช้เป็นแหล่งข้อมูลค้นหาคำตอบเกี่ยวกับข้อเท็จจริงได้ทุก ๆ แขนงวิชา
2. ข้อเท็จจริงในหนังสือสารานุกรมเชื่อถือได้ เพราะเป็นหนังสือที่เขียนโดยผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชานั้น ๆ
3. ใช้เป็นแหล่งศึกษาพื้นฐานความรู้ในเชิงประวัติความเป็นมา และวิวัฒนาการของศาสตร์ในสาขาต่าง ๆ
4. ได้ความรู้ที่ทันสมัยเพราะมีการปรับปรุงเนื้อหาทุก ๆ ปี
5. ผู้ใช้สามารถค้นหาคำตอบได้สะดวกและรวดเร็ว เพราะมีเครื่องมือช่วยค้น คือดรรชนี (Index)
6. ผู้ใช้สามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เพราะมีการจัดเรียงลำดับเนื้อเรื่องอย่างมีระเบียบ
7. ใช้เป็นคู่มือของบรรณารักษ์ในการบริการตอบคำถามได้เป็นอย่างดี
อ้างอิงจากhttp://lib.kru.ac.th
1. ใช้เป็นแหล่งข้อมูลค้นหาคำตอบเกี่ยวกับข้อเท็จจริงได้ทุก ๆ แขนงวิชา
2. ข้อเท็จจริงในหนังสือสารานุกรมเชื่อถือได้ เพราะเป็นหนังสือที่เขียนโดยผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชานั้น ๆ
3. ใช้เป็นแหล่งศึกษาพื้นฐานความรู้ในเชิงประวัติความเป็นมา และวิวัฒนาการของศาสตร์ในสาขาต่าง ๆ
4. ได้ความรู้ที่ทันสมัยเพราะมีการปรับปรุงเนื้อหาทุก ๆ ปี
5. ผู้ใช้สามารถค้นหาคำตอบได้สะดวกและรวดเร็ว เพราะมีเครื่องมือช่วยค้น คือดรรชนี (Index)
6. ผู้ใช้สามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เพราะมีการจัดเรียงลำดับเนื้อเรื่องอย่างมีระเบียบ
7. ใช้เป็นคู่มือของบรรณารักษ์ในการบริการตอบคำถามได้เป็นอย่างดี
อ้างอิงจากhttp://lib.kru.ac.th
วันพฤหัสบดีที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
ข่าสารประจำสัปดาห์ที่3
ความสำคัญของสารานุกรม
หนังสือสารานุกรมเป็นหนังสืออ้างอิงที่สำคัญที่มีความสำคัญในฐานะที่เป็นแหล่งบันทึกภูมิปัญญา ของมวลมนุษยชาติตั้งแต่อดีต มาจนถึงปัจจุบัน ครอบคลุมศาสตร์ทุกแขนงวิชา มีการรวบรวมอย่างมีระบบ จึงได้กลายเป็นแหล่งอ้างอิงที่ครอบจักรวาล สำหรับอนุชนรุ่นหลัง เพื่อศึกษาค้นคว้าหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความพื้นขั้นพื้นฐานในแขนงวิชาต่าง ๆ นำไปสู่การค้นคว้าหาข้อเท็จจริงอย่างลึกซึ้งในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง อย่างต่อเนื่อง จนทำให้มีผลในการพัฒนาการใหม่ ๆ ในสังคมยุคปัจจุบัน ด้วยเหตุดังกล่าวข้างต้น สารานุกรมจึงได้กลายเป็นเครื่องมือที่สำคัญ
ในการบริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้าของบรรณารักษ์แผนกอ้างอิงเป็นเวลายาวนานเกินกว่าหนึ่งศวตวรรษ และปัจจุบันเป็นที่ยิมรับกันว่า สารานุกรมเป็นกรดูกสันหลังของงานบริการอ้างในห้องสมุดทุกประเภทเลยทีเดียว ลักษณะเฉพาะของสารานุกรม
เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้เกิดความภาคภูมิใจในความสามารถของบรรพบุรุษในการสร้างงานศิลปะ จากภูมิปัญญาที่คอดแบบผสมผสาน การนำวัตถุดิบพื้นบ้านที่หาได้ในแต่ละท้องถิ่นของภาคต่าง ๆ ในประเทศ มาประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้ได้อย่างมีศิลปะ ถึงแม้ว่าเครื่องเครื่องใช้ เหล่านี้จะเป็นเพียงของใช้พื้นบ้านที่ชาวบ้านธรรมดาใช้กัน แต่ก็มีคุณค่ามากมายในตัวมันเอง สุทธิลักษณ์ อำพันวงศ์ ได้กล่าวถึงลักษณะเฉพาะของสารานุกรมไว้ ดังนี้
1. สารานุกรมมีทั้งชนิดเล่มเดียวจบ และชนิดเป็นชุดหลายเล่มจบ ถ้าเป็นชุดหลายเล่มจะแจ้งไว้ที่สันว่า อักษรใดถึงอักษรใด เพื่อให้ค้นได้สะดวก
2. สารานุกรมทั้งขั้นอ่านยากสำหรับผู้มีความรู้สูง และขั้นอ่านง่ายสำหรับเยาวชน หรือผู้ที่มีความรู้ระดับปานกลาง ถ้ายากทราบสารานุกรมขั้นใดก็อ่านได้จากคำนำ
3. สารานุกรมประกอบด้วยบทความทางวิชาการด้านต่าง ๆ โดยการจัดเรียงลำดับตามตัวอักษร
4. มีชื่อเต็มหรืออักษรย่อของผู้เขียนบทความกำกับไว้ที่ท้ายเรื่องทุกเรื่อง
5. มีภาพประกอบบทความบางเรื่อง
อ้าอิงจาก http://lib.kru.ac.th/eBook/1630000/1630101/encyclopedia.html
หนังสือสารานุกรมเป็นหนังสืออ้างอิงที่สำคัญที่มีความสำคัญในฐานะที่เป็นแหล่งบันทึกภูมิปัญญา ของมวลมนุษยชาติตั้งแต่อดีต มาจนถึงปัจจุบัน ครอบคลุมศาสตร์ทุกแขนงวิชา มีการรวบรวมอย่างมีระบบ จึงได้กลายเป็นแหล่งอ้างอิงที่ครอบจักรวาล สำหรับอนุชนรุ่นหลัง เพื่อศึกษาค้นคว้าหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความพื้นขั้นพื้นฐานในแขนงวิชาต่าง ๆ นำไปสู่การค้นคว้าหาข้อเท็จจริงอย่างลึกซึ้งในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง อย่างต่อเนื่อง จนทำให้มีผลในการพัฒนาการใหม่ ๆ ในสังคมยุคปัจจุบัน ด้วยเหตุดังกล่าวข้างต้น สารานุกรมจึงได้กลายเป็นเครื่องมือที่สำคัญ
ในการบริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้าของบรรณารักษ์แผนกอ้างอิงเป็นเวลายาวนานเกินกว่าหนึ่งศวตวรรษ และปัจจุบันเป็นที่ยิมรับกันว่า สารานุกรมเป็นกรดูกสันหลังของงานบริการอ้างในห้องสมุดทุกประเภทเลยทีเดียว ลักษณะเฉพาะของสารานุกรม
เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้เกิดความภาคภูมิใจในความสามารถของบรรพบุรุษในการสร้างงานศิลปะ จากภูมิปัญญาที่คอดแบบผสมผสาน การนำวัตถุดิบพื้นบ้านที่หาได้ในแต่ละท้องถิ่นของภาคต่าง ๆ ในประเทศ มาประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้ได้อย่างมีศิลปะ ถึงแม้ว่าเครื่องเครื่องใช้ เหล่านี้จะเป็นเพียงของใช้พื้นบ้านที่ชาวบ้านธรรมดาใช้กัน แต่ก็มีคุณค่ามากมายในตัวมันเอง สุทธิลักษณ์ อำพันวงศ์ ได้กล่าวถึงลักษณะเฉพาะของสารานุกรมไว้ ดังนี้
1. สารานุกรมมีทั้งชนิดเล่มเดียวจบ และชนิดเป็นชุดหลายเล่มจบ ถ้าเป็นชุดหลายเล่มจะแจ้งไว้ที่สันว่า อักษรใดถึงอักษรใด เพื่อให้ค้นได้สะดวก
2. สารานุกรมทั้งขั้นอ่านยากสำหรับผู้มีความรู้สูง และขั้นอ่านง่ายสำหรับเยาวชน หรือผู้ที่มีความรู้ระดับปานกลาง ถ้ายากทราบสารานุกรมขั้นใดก็อ่านได้จากคำนำ
3. สารานุกรมประกอบด้วยบทความทางวิชาการด้านต่าง ๆ โดยการจัดเรียงลำดับตามตัวอักษร
4. มีชื่อเต็มหรืออักษรย่อของผู้เขียนบทความกำกับไว้ที่ท้ายเรื่องทุกเรื่อง
5. มีภาพประกอบบทความบางเรื่อง
อ้าอิงจาก http://lib.kru.ac.th/eBook/1630000/1630101/encyclopedia.html
วันเสาร์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่2
ENCYCLOPEDIAS
Britannica Concise Encyclopedia ขุมทรัพย์แห่งปัญญา
สารานุกรม หรือ Encyclopedia คือเรื่องคัดย่อที่เรียบเรียงขึ้นเพื่อรวบรวมความรู้ (ในขณะที่พจนานุกรมคือ Dictionary รวบรวมคำศัพท์และนิยามความหมาย) ทั้งที่เป็นความรู้ทั่วไป หรือที่เป็นความรู้เฉพาะทาง เช่นสารานุกรมเกี่ยวกับการแพทย์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา อาจเป็นสารานุกรมที่มีเนื้อหาครอบคลุมแต่ละภูมิภาคประเทศ หรือกลุ่มชน โดยทั่วไปจะจัดเรียงหัวข้อ เพื่อความสะดวกในการค้นคว้าใน 2 ลักษณะ คือเรียงตามอักขระ และเรียงตามกลุ่มเนื้อหา สารานุกรมประมวลองค์ความรู้ของมนุษยชาติที่สั่งสมกันมาตลอดหลายยุคหลายสมัย ทั้งยังปรับปรุงให้ทันกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตลอดเวลา จึงนับเป็นแหล่งสำคัญสำหรับการศึกษา และการเพิ่มพูนภูมิปัญญาของทุกคน
เมื่อพูดถึงสารานุกรม ส่วนใหญ่จะนึกถึงสารานุกรม Encyclopedia Britannica เป็นอันดับแรก ทั้งนี้เพราะ Encyclopedia Britannica เป็นสารานุกรมที่ได้รับความเชื่อถือและยอมรับมากที่สุดในโลกมานานถึง 230 ปี นับตั้งแต่ได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1788 ที่เมืองเอดินบะระในสกอตแลนด์ ปัจจุบันนี้สารานุกรมเป็นลิขสิทธิ์ของ Encyclopedia Britannica, Inc. ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ในนครชิคาโก และได้ผลิตสารานุกรม ตลอดจนสื่อความรู้ที่มีคุณภาพในรูปแบบอื่นๆออกมาอีกนับไม่ถ้วน และหนึ่งในจำนวนนั้นคือ Britannica Concise Encyclopedia
ทางผู้จัดพิมพ์เล็งเห็นว่ากระบวนการในการจัดทำสารานุกรมฉบับนี้ จะมีความยุ่งยากซับซ้อนเป็นพิเศษ จึงได้นำเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้เพื่อความสะดวกรวดเร็ว และถูกต้องแม่นยำในการทำงาน รวมถึงได้ทำการพัฒนา Software ขึ้นมารองรับโดยเฉพาะ ประกอบด้วยโปรแกรม Translator's Panel, Editor's Panel และ Transliteration Panel สำหรับการทำงานของผู้แปลและบรรณาธิการต่างๆ และ Report Launcher สำหรับการควบคุมติดตามความคืบหน้าของงานในแต่ละช่วงเวลา ถือได้ว่าเป็นครั้งแรกที่มีการพัฒนา Software เพื่อการทำงานของผู้แปล และเพื่อบรรณาธิการขึ้นมาโดยเฉพาะกิจ
อ้างอิง www.concise.thai.britannica.com
วันศุกร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
ข่าวสารประจำสัปดาห์ที่1
ENCYCLOPEDIAS NEWS
The Columbia Encyclopedia, Sixth Edition | 2008 | The Columbia Encyclopedia, Sixth Edition. Copyright 2008 Columbia University Press. (Hide copyright information) Copyright
French Revolution political upheaval of world importance in France that began in 1789.
Origins of the Revolution
Historians disagree in evaluating the factors that brought about the Revolution. To some extent at least, it came not because France was backward, but because the country's economic and intellectual development was not matched by social and political change. In the fixed order of the ancien régime, most bourgeois were unable to exercise commensurate political and social influence. King Louis XIV, by consolidating absolute monarchy, had destroyed the roots of feudalism; yet outward feudal forms persisted and became increasingly burdensome.
France was still governed by privileged groups—the nobility and the clergy—while the productive classes were taxed heavily to pay for foreign wars, court extravagance, and a rising national debt. For the most part, peasants were small landholders or tenant farmers, subject to feudal dues, to the royal agents indirect farming (collecting) taxes, to the corvée (forced labor), and to tithes and other impositions. Backward agricultural methods and internal tariff barriers caused recurrent food shortages, which netted fortunes to grain speculators, and rural overpopulation created land hunger.
In addition to the economic and social difficulties, the ancien régime was undermined intellectually by the apostles of the Enlightenment . Voltaire attacked the church and absolutism; Denis Diderot and the Encyclopédie advocated social utility and attacked tradition; the baron de Montesquieu made English constitutionalism fashionable; and the marquis de Condorcet preached his faith in progress. Most direct in his influence on Revolutionary thought was J. J. Rousseau , especially through his dogma of popular sovereignty. Economic reform, advocated by the physiocrats and attempted (1774-76) by A. R. J. Turgot , was thwarted by the unwillingness of privileged groups to sacrifice any privileges and by the king's failure to support strong measures.
The direct cause of the Revolution was the chaotic state of government finance. Director general of finances Jacques Necker vainly sought to restore public confidence. French participation in the American Revolution had increased the huge debt, and Necker's successor, Charles Alexandre de Calonne , called an Assembly of Notables (1787), hoping to avert bankruptcy by inducing the privileged classes to share in the financial burden. They refused in an effort to protect economic privileges.
The Estates-General and the National Assembly
Étienne Charles Loménie de Brienne succeeded Calonne. His attempts to procure money were thwarted by the Parlement of Paris (see parlement ), and King Louis XVI was forced to agree to the calling of the States-General. Elections were ordered in 1788, and on May 5, 1789, for the first time since 1614, the States-General met at Versailles. The chief purpose of the king and of Necker, who had been recalled, was to obtain the assembly's consent to a general fiscal reform.
Each of the three estates—clergy, nobility, and the third estate, or commons—presented its particular grievances to the crown. Innumerable cahiers (lists of grievances) came pouring in from the provinces, and it became clear that sweeping political and social reforms, far exceeding the object of its meeting, were expected from the States-General. The aspirations of the bourgeoisie were expressed by Abbé Sieyès in a widely circulated pamphlet that implied that the third estate and the nation were virtually identical. The question soon arose whether the estates should meet separately and vote by order or meet jointly and vote by head (thus assuring a majority for the third estate, whose membership had been doubled).
อ้างอิง www.changsunha.com
วันจันทร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
ส่งงานโปรเจ็กนะครับ
http://www.mediafire.com/?fijtvmw2mzz
ทำความรู้จัก : ดาวเทียมไทยคมวันที่ 17 มิถุนายน 2553 เวลา 20:21 น. อ่าน : 91 | ตอบ : 0
โครงการ ดาวเทียมไทยคม ( Thaicom ) เป็นโครงการ ดาวเทียมสื่อสาร เพื่อให้บริการสื่อสารผ่านช่องสัญญาณดาวเทียม ซึ่งกระทรวงคมนาคม (ในขณะนั้น) ต้องการจัดหาดาวเทียมเพื่อรองรับการขยายตัวด้านการสื่อสารของประเทศอย่างรวดเร็ว แต่ในเวลานั้นประเทศไทยยังไม่มีดาวเทียมเป็นของตนเอง และต้องทำการเช่าวงจรสื่อสารจากดาวเทียมของประเทศต่างๆ ทำให้ให้เกิดความไม่สะดวกและสูญเสียเงินออกนอกประเทศเป็นจำนวนมาก แต่เนื่องจากการจัดสร้างดาวเทียมต้องใช้เงินลงทุนสูงมากจึงได้มีการเปิดประมูลเพื่อให้สัมปทานแก่บริษัทเอกชนเข้ามาดำเนินการแทนการใช้งบประมาณจากภาครัฐ และ บริษัท ชินวัตร แซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ได้รับสัมปทานเมื่อ พ.ศ. 2534 เป็นต้นมา เป็นระยะเวลา 30 ปี (ปัจจุบันอำนาจการดูแลสัญญาโอนไปที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)
วันอังคารที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2553
INFORMATION LITERACY
มาตรฐานบล็อกนักศึกษา (ภาคเรียนที่1/2553)
ขอให้นักศึกษาสร้างบล็อก ตามมาตรฐานดังนี้นะคะ
1. ตั้งชื่อบล็อกโดยขึ้นต้นด้วย il- แล้วตามด้วยชื่อที่ต้อง
2. ใส่ชื่อโปรเจ็กไว้ใน Blog Description
3. ใส่รูปภาพใน Profile เพืื่อง่ายต่อการจดจำ
4. ใส่ชื่อสมาชิก พร้อมสาขาวิชาและชั้นปีไว้ที่ Sidebar (เป็นรายการแรก
ุ5. แจ้ง URL Blog นักศึกษา ที่ http://nawasai77.tweetboard.com(จำแนกตามวันที่เรียน)
6. ไม่เผยแพร่ถ้อยคำและภาพที่ไม่เหมาะสมCredit pic as labeled
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)